หัวข้อ |
ขอบเขต/เนื้อหา สรุปขั้นตอนการปฏิบัติ |
คลิ๊ก เปิดอ่านไฟล์ภาพ |
1.วินัย |
ความหมาย ประเภท |
  |
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัย |
สาระบัญญัติ และวิธีสบัญญัติ |
 |
3.การอ้างกฎหมาย |
มาตรฐานกลางของ ก.ถ. มาตรฐานทั่วไปของ ก.กลาง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของ ก.จังหวัด |
 |
4.ประเภทของ ก.แต่ละระดับ |
(คณะกรรมการฯ) |
|
5.การดำเนินการทางวินัย |
ความหมาย ประเภท |
|
6.กรณีมีการร้องเรียนกล่าวหาว่าผู้ใดกระทำผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว (แค่ไหน,เพียงใด) |
-ให้นายก อปท.ดำเนินการทางวินัยทันที (คำว่า"ทันที" คือในขณะนั้นเอง) |
|
7.กรณีมีการร้องเรียนกล่าวหา
(1)ปรากฎตัวผู้กล่าวหา
(2)สงสัยว่าผู้ใดกระทำผิดวินัย
โดยยังไม่มีพยานหลักฐานในเบื้องต้น |
-ให้นายก อปท.สืบสวนในเบื้องต้นว่า "มีมูล"หรือไม่ |
|
8.การสอบข้อเท็จจริง |
-เป็นการแสวงหาความจริงที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของผู้ต้องการทราบความจริงนั้น
(ถ้าสอบแล้ว จบแล้ว สอบข้อเท็จจริงใหม่ได้ ยกเว้น สอบวินัย จบแล้ว จบเลย) |
|
9.การสอบข้อเท็จจริง เมื่อ อบต.,เทศบาล,อบจ.หรือ เมืองพัทยา ถูกร้องเรียน |
-ให้จังหวัดเป็นผู้ตรวจสอบข้อเท็จจริง |
|
10.การสอบสวนทางวินัย |
-หากจะนำผลการสอบสวนไปใช้ลงโทษทางวินัยได้ ต้องมี 3 องค์ประกอบ |
|
11.การชี้มูลความผิดทางวินัย |
-เป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการทางวินัย ที่นายก อปท.ไม่ต้องสอบข้อเท็จจริงใหม่อีก(เว้นแต่การชี้มูล ซึ่งไม่ปรากฎชื่อบุคคลผู้ถูกชี้มูล อาจตรวจสอบชื่อจากเอกสารได้) |
|
12.ลักษณะการชี้มูลความผิด |
-ชี้มูลความผิดโดยหน่วยงานของรัฐ
-ชี้มูลโดยเอกชน (มีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว) |
|
13.ลักษณะการส่งเรื่อง |
-ส่งเรื่องโดยหน่วยงานของรัฐ
-ส่งเรื่องโดยเอกชน |
|
14.อำนาจในการดำเนินการทางวินัย |
-อำนาจ
-ขอบเขต |
|
15.การตั้งเรื่องกล่าวหา |
-เป็นเรื่องที่กล่าวหาจริงๆ คือพฤติกรรมที่กระทำ
|
|
16.การออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สว.1) |
-คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน
|
|
17.การยืมตัวข้าราชการจากสังกัดอื่นเป็นกรรมการสอบสวน |
-เป็นกรณีจำเป็นหรือเพื่อความยุติธรรม
|
|
18.นายก อปท.เป็น "คู่กรณี" กับผู้ถูกสอบสวนหรือ "ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดร่วมกับข้าราชการ อปท." |
-เป็นคู่กรณี (1)อาจฟ้องร้องหรือร้องเรียนกันเป็นที่ประจักษ์ (2)รวมถึงมีพฤติกรรมหรือเหตุการณ์เป็นปฏิปักษ์มีสภาพร้ายแรง
|
|
19.การยกเลิกคำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนจะกระทำมิได้ |
-ตรวจให้รอบคอบก่อนออกคำสั่ง
|
|
20.คำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนเปลี่ยนแปลงได้ |
-ยกเลิกไม่ได้ แค่เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ |
|
21.หน้าที่ของกรรมการสอบสวน |
-เกี่ยวกับหน่วยงาน
|
|
22.หน้าที่ของประธานกรรมการสอบสวน |
-เรียกประชุมเพื่อวางแนวทางการสอบสวน |
|
23.องค์ประชุมกรรมการสอบสวน |
-การประชุม
|
|
24.การคัดค้านกรรมการสอบสวน |
|
|
25.การนับระยะเวลาการสอบสวน |
-อำนาจของกรรมการ
|
|
26.การสอบสวนเสียไปหรือไม่ |
-ระยะเวลาการสอบสวน
|
|
27.ข้าราชการถูกแต่งตั้งกรรมการสอบข้อเท็๋จจริงความผิดทางละเมิด |
-นายก อปท.ต้องดำเนินการทางวินัย |
|
28.ข้าราชการต้องหาคดีอาญาหรือถูกฟ้องคดีอาญา |
-นายก อปท.ต้องดำเนินการทางวินัยไปพร้อมกัน
|
|
29.ข้าราชการเกี่ยวข้องกับยาเสพติด (ผลิต/ค้า/เสพฯลฯ) |
-นายก อปท.ต้องดำเนินการทางวินัยไปพร้อมกันทุกคดี |
|
30.การดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ออกจากราชการไปแล้ว |
-ต้องถูกกล่าวหาไว้ก่อนออกจากราชการ |
|
31.การดำเนินการทางวินัย กรณีเป็นการกระทำที่ปรากฎชัดแจ้ง |
-นายก อปท.จะดำเนินการทางวินัย โดย ไม่สอบสวน หรืองดการสอบสวน ก็ได้
|
|
32.การกระทำที่ปรากฎชัดแจ้ง |
(ข้อ 27) (ข้อ 28) (ข้อ 29) |
|
33.การแจ้ง สว.1,2,3 ไม่ได้ |
-สว.1 (คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน)
|
|
34.ผู้ถูกกล่าวหาตายระหว่างการสอบสวน |
-ให้ยุติการสอบปากคำพยานบุคคล |
|
35.ผู้ถูกกล่าวหาโอน (ย้าย) ระหว่างการสอบสวน |
-ให้กรรมการสอบสวนทำการสอบสวนต่อไปจนเสร็จ |
|
36.ในการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน |
-ข้ออนุญาต
|
|
37.การอ้างพยานหลักฐาน |
-พยานเอกสาร/พยานวัตถุ |
|
38.การสอบพยานบุคคล |
-พยานมา |
|
39.การตัดพยาน |
|
|
40.การสอบสวนหรือรวมรวมพยานหลักฐานต่างท้องที่ |
|
|
41.กรรมการสอบสวนพบเรื่องอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในคำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (สว.1) |
-กรรมการสอบสวนในเรื่องอื่นนั้นไม่ได้ |
|
42.กรรมการสอบสวนพาดพิงข้าราชการผู้อื่น (นอกจากที่ระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สว.1) |
-กรรมการสอบสวนจะสอบสวนผู้อื่นนั้นในฐานะเป็นผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้ |
|
43.นายก อปท.ตั้งกรรมการสอบสวน กรณีหย่อน/บกพร่อง/ประพฤติไม่เหมาะสมไว้แล้ว และเห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัยด้วย |
-ให้นายก อปท.แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย อีก 1 คำสั่ง |
|
44.กรณีมีคำพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทำผิด ก่อนการสอบสวนทางวินัยจะแล้วเสร็จ |
-ถ้ากรรมการเห็นว่า ข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาชัดอยู่แล้ว |
|
45.การประชุมเพื่อลงมติเมื่อรวบรวมพยานหลักฐานต่างๆ เสร็จ |
-การประชุมต้องพิจารณามีมติใน 3 ประเด็น คือ... |
|
46.การทำรายงานการสอบสวน (สว.6) |
|
|
47.อำนาจเกี่ยวกับสำนวนการสอบสวนของนายก อปท. |
|
|
48.การสอบสวนเพิ่มเติม |
|
|
49.มติ ก.พ.,มติ ครม.,ความเห็นกฤษฎีกา |
-เป็นเรื่องเกี่ยวกับวินัย |
|
50.เงินสมนาคุณคณะกรรมการสอบสวน |
-เบิกได้เฉพาะการแต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง |
|
|
|
|